CONSIDERATIONS TO KNOW ABOUT ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

Considerations To Know About ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

Considerations To Know About ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

Blog Article

กล่าวโดยสรุป ผู้เขียนพบว่าปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาของไทย โดยส่วนใหญ่แล้ว จะเป็นปัญหาที่มาจากปัจจัยที่สามารถปรับเปลี่ยนแก้ไขได้ (เช่น การขยายขนาดโรงเรียน การเพิ่มจำนวนครู การให้ความรู้แก่บิดามารดา) มากกว่าที่จะมาจากปัจจัยที่คงที่ ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ (เช่น ความฉลาดทางสติปัญญา) ดังนั้น หากภาครัฐมีการกำหนดเป้าหมายและวิธีการที่เหมาะสม ย่อมสามารถที่จะบรรเทาปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาของไทยให้ลดลงได้

ความเหลื่อมล้ำของคุณภาพการศึกษาระหว่างโรงเรียนขนาดใหญ่-ขนาดเล็ก:

ภูมิลำเนา และสภาพแวดล้อมของผู้เรียนที่แตกต่างกัน อาจทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำในการศึกษาได้ เนื่องจากองค์ความรู้ และแหล่งเรียนรู้ต่างๆ มักถูกพัฒนา และกระจุกตัวอยู่ภายในพื้นที่เขตเมืองมากกว่าชนบท อีกทั้งอัตราการแข่งขันทางการศึกษาที่สูงมากในพื้นที่เขตเมือง ทำให้เกิดเป็นสภาพแวดล้อมของการเรียนรู้ที่ดี ในขณะที่พื้นที่ชนบทไม่ได้มีบรรยากาศ และสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการเรียนรู้มากนัก

“ลำพังการคิดถึงภาพว่าโรงเรียนต้องมีใครบ้าง เราก็ยังฉายภาพไม่ตรงกัน เรายังเข้าใจว่าถ้ามีโรงเรียน มีเพียงผู้อำนวยการกับครูก็ได้ ทั้งที่จำเป็นต้องมีคนอื่นๆ เพิ่มเข้ามาด้วย ทั้งนักการภารโรง ธุรการ พนักงาน ถ้าไปดูโรงเรียนในเมืองจะพบว่าปริมาณคนกลุ่มแบ็กอัปเหล่านี้เยอะมาก รัฐยังมองไม่เห็นถึงความจำเป็นตรงนี้”

จ.ส.ต.หญิง สุธัญญา แตงทอง นักศึกษา ‘โครงการพัฒนาครูในโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนในถิ่นทุรกันดาร’ จากโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนตะโกปิดทอง จ.

เศรษฐกิจและความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศ เศรษฐกิจระหว่างประเทศ

บทเรียนจากงานวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาเด็กปฐมวัย : รศ.ดร.วีระชาติ กิเลนทอง

'สุรพงษ์' เล็งหารือ ก.คลัง ปรับโครงสร้างหนี้การรถไฟฯ หวังหลุดขาดทุนสะสม

แต่ถ้าถามว่า ช่องว่างของการเรียนรู้เกิดจากแค่ลักษณะของครัวเรือน (ยากจน/ร่ำรวย) หรือไม่? คำตอบคือไม่ เพราะยังมีปัจจัยอื่น เช่น คุณภาพของโรงเรียน ซึ่งเป็นตัวแปรที่ส่งผลต่อคุณภาพทางการศึกษาอย่างสำคัญ โดยรายงานระบุว่า หากนักเรียนยากจนได้รับการศึกษาจากโรงเรียนที่มีคุณภาพ ผลการเรียนของนักเรียนจะอยู่ในระดับมาตรฐานที่ไม่ต่างจากนักเรียนร่ำรวยเท่าไรนัก

คุกกี้เพื่อปรับเนื้อหาให้เข้ากับกลุ่มเป้าหมาย

ด้าน ธันว์ธิดา ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา วงศ์ประสงค์ รักษาการผู้อำนวยการสำนักนวัตกรรมและทุนการศึกษา กสศ.กล่าวถึงกรอบแนวคิดการทำงานว่า บทบาทของ กศส.คือการเข้าไปสนับสนุน หน่วยงานและองค์กรต่างๆ ในจังหวัดให้มีความสามารถในการขับเคลื่อนเพื่อทำให้ปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาลดลง ด้วยการเข้าไปช่วยเหลื่อเด็กโดยตรง และรายคน

โครงการสร้างโอกาสทางการศึกษาสําหรับนักเรียนในพืนที่ห่างไกลเป็นครูรุ่นใหม่เพือพัฒนาคุณภาพโรงเรียนของชุมชน (ครูรัก(ษ์)ถิ่น)

ส.ต.หญิง สุธัญญา แตงทอง นักศึกษาครูของโครงการพัฒนาครูในโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนในถิ่นทุรกันดารที่มีความตั้งใจและมุ่งมั่นไปเรียนรู้เพื่อกลับมาพัฒนาห้องเรียนอย่างที่ตั้งใจ

เพราะแต่ละพื้นที่มีบริบทแตกต่างกันและโครงสร้างต้นตอของปัญหาก็ไม่เหมือนกัน การแก้ปัญหา “ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา” จึงต้องแก้ที่พื้นที่

Report this page